เล่มนี้น่าจะใช้ได้ ไฟล์สวย สำหรับเืรื่องผิวหนังที่เรากังวล
บล๊อกนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเหลือในการสอบ National lisense ของชาว MedNU รุ่น17&NTรุ่น9
วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2556
HENRY’S CLINICAL DIAGNOSIS AND MANAGEMENT
อาจารย์ประจำบล๊อกแนะนำมาว่าใครๆก็อ่านกัน
HENRY’S CLINICAL DIAGNOSIS AND MANAGEMENT
By Laboratory Methods, Twenty-Second Edition
แหม่ ตีพิมพ์ครั้งที่ 22 แล้ว คงไม่ธรรมดาอย่างที่เค้าว่ากัน
ลองดูนะครับ ตัวหนังสือยังกะมดเลยทีเดียว
HENRY’S CLINICAL DIAGNOSIS AND MANAGEMENT
By Laboratory Methods, Twenty-Second Edition
แหม่ ตีพิมพ์ครั้งที่ 22 แล้ว คงไม่ธรรมดาอย่างที่เค้าว่ากัน
ลองดูนะครับ ตัวหนังสือยังกะมดเลยทีเดียว
วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
มาดูสาเหตุการตายหลากหลายแบบกันดีกว่า
ลองนั่งดูไปเรื่อยๆ แล้วจะพบว่าบางทีคนเราก็ตายด้วยสาเหตุไม่น่าเชื่อเลยจริงๆ
เช่น มีเด็กคนนึงที่แม่ชอบเอาแป้งทาๆให้ทั่วตัว ปรากฎว่าแป้งหลุดเข้าปอด ฟอร์มตัวเป็นก้อนอุดหลอดลม ตายภายใน 3 ชั่วโมง (เจอภายหลังว่าในแป้งมีซิลิกาด้วย ... มายังไงวะ)
Color atlas of anatomical pathology by Robin A. Cooke
เช่น มีเด็กคนนึงที่แม่ชอบเอาแป้งทาๆให้ทั่วตัว ปรากฎว่าแป้งหลุดเข้าปอด ฟอร์มตัวเป็นก้อนอุดหลอดลม ตายภายใน 3 ชั่วโมง (เจอภายหลังว่าในแป้งมีซิลิกาด้วย ... มายังไงวะ)
Color atlas of anatomical pathology by Robin A. Cooke
วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
หนังสือ Pathology 2 เล่ม เล่มนึงสรุป เล่มนึงเทส
วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Medical Dictionary 2 เล่ม
วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
คู่มือ Histology ครับ
วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Clinical Immunology&Serology
Clinical Immunology เล่มนี้อธิบายวิธีการตรวจทางห้องปฎิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันไว้ค่อนข้างมาก
แต่เบสิคเกี่ยวกับ immune response ก็มีให้อ่านเหมือนกันครับ
แต่เบสิคเกี่ยวกับ immune response ก็มีให้อ่านเหมือนกันครับ
วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
หนังสือ Immunology ของคุณลุง Abbas ที่ใครๆก็แนะนำครับ
อ่าน Immunology ทีไร เห็นแต่ T-cell กับ B-cell
แต่สามารถเขียนหนังสือได้เป็นเ่ล่มโตขนาดนี้
นับถือเค้าจริงๆ
เล่มนี้คือ Edition ล่าสุดของคุณลุง Abbas ครับ
เป็นเล่มที่อาจารย์หลายท่านแนะนำว่าอาจช่วยพวกเราได้ (ถ้าเราอ่านนะ)
ผมว่ารูปประกอบในเล่มมีมากมาย จนเราสามารถดูรูปโดยไม่ต้องอ่านข้อความยังได้เลย
Enjoy Reading ครับ
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
แนะนำหนังสือ 2 เล่มสำหรับบล๊อก Immuno-Infectious ครับ
วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
First Aid - USMLE : Basic Sciences
สำหรับบล๊อกไมโครที่เรากำลังเรียนอยู่นี้
เรื่องไวรัสน่าปวดหัวฝุดๆ เล่มนี้อาจช่วยได้ครับ
เห็นจูเนียร์นั่งอ่านเมื่อวาน น่าสนใจ
เรื่องไวรัสน่าปวดหัวฝุดๆ เล่มนี้อาจช่วยได้ครับ
เห็นจูเนียร์นั่งอ่านเมื่อวาน น่าสนใจ
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556
หนังสือ 2 เล่ม ในซีรีย์ First Aid-USMLE มีเนื้อหาช่วยเตรียมสอบ Micro ได้ครับ
เล่มแรก First Aid for USMLE step1-2013
เล่มนี้ยังไม่มีไฟล์มาสเตอร์มออกมา แต่ก็เป็นไฟล์แสกนที่ชัดมาก พอใช้ได้ครับ
สรุปเนื้อหาแบบเนื้อๆเน้นๆ เห็นมีข่าวว่าเล่มของปี 2012 เนื้อหาไมโครผิดค่อนข้างเยอะมาก และถูกแก้ไขแล้วใน Ed 2013 นี้จริงเท็จประการใด ลองตรวจสอบดู
เล่มที่สอง First Aid Q&A For USMLE Step 1 2nd Edition
เป็นเล่มรวมข้อสอบ USMLE-Type แบบโจทย์เวิ่นๆยาวๆ ให้ฝึกทำ
สำหรับล๊อกไมโคร ถ้าอาจารย์โสภิศจะมาแนวนี้ ก็น่าฝึกทำดูครับ มีหมดทั้งแบคทีเรีย เชื้อรา พาราไซต์ และไวรัส และเฉลยละเอียดมาก จะได้รู้ว่าฝรั่งเค้าเรียนเหมือนเราหรือเปล่า
เล่มนี้ยังไม่มีไฟล์มาสเตอร์มออกมา แต่ก็เป็นไฟล์แสกนที่ชัดมาก พอใช้ได้ครับ
สรุปเนื้อหาแบบเนื้อๆเน้นๆ เห็นมีข่าวว่าเล่มของปี 2012 เนื้อหาไมโครผิดค่อนข้างเยอะมาก และถูกแก้ไขแล้วใน Ed 2013 นี้จริงเท็จประการใด ลองตรวจสอบดู
เล่มที่สอง First Aid Q&A For USMLE Step 1 2nd Edition
เป็นเล่มรวมข้อสอบ USMLE-Type แบบโจทย์เวิ่นๆยาวๆ ให้ฝึกทำ
สำหรับล๊อกไมโคร ถ้าอาจารย์โสภิศจะมาแนวนี้ ก็น่าฝึกทำดูครับ มีหมดทั้งแบคทีเรีย เชื้อรา พาราไซต์ และไวรัส และเฉลยละเอียดมาก จะได้รู้ว่าฝรั่งเค้าเรียนเหมือนเราหรือเปล่า
วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556
แนะำนำหนังสือ Microbiology เพิ่มเิติม
อัพเดทหนังสือที่เกี่ยวข้องกับ Blog Microbiology นะครับ
ในส่วนแนะนำตำราเด็ด ได้มีแนะนำไปบ้างแล้ว อันนี้คือที่เพิ่มเติมครับ
เนื้อหาในเล่มของ Totora - Microbiology และ Burton-Microbiology for health science
จะค่อนข้างมีรายละเอียดเสริมกับที่เราเรียนอยู่ปัจจุบันได้ดีที่เดียว
ส่วน color atlas pf diagnostic microbiology ก็มีรูปเชื้อสวยๆให้ดูเยอะเลยครับ
น่าจะครอบคลุมทั้งหมดที่เราจะได้เรียนกันในสองสามวันนี้
เล่มที่อาจารย์แนะนำมาของ Murrey ในห้องสมุดของคณะยังพอมีเหลือ Edition เก่าๆอยู่
ถ้าใครไม่ฮิ ก็สามารถไปยืมมาอ่านได้ครับ
ในส่วนแนะนำตำราเด็ด ได้มีแนะนำไปบ้างแล้ว อันนี้คือที่เพิ่มเติมครับ
เนื้อหาในเล่มของ Totora - Microbiology และ Burton-Microbiology for health science
จะค่อนข้างมีรายละเอียดเสริมกับที่เราเรียนอยู่ปัจจุบันได้ดีที่เดียว
ส่วน color atlas pf diagnostic microbiology ก็มีรูปเชื้อสวยๆให้ดูเยอะเลยครับ
น่าจะครอบคลุมทั้งหมดที่เราจะได้เรียนกันในสองสามวันนี้
เล่มที่อาจารย์แนะนำมาของ Murrey ในห้องสมุดของคณะยังพอมีเหลือ Edition เก่าๆอยู่
ถ้าใครไม่ฮิ ก็สามารถไปยืมมาอ่านได้ครับ
วันเสาร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2556
หลังจากได้สอบ NL ครบทั้ง 3 parts ก็ได้ค้นพบว่า... (จาก หมอ ม.ขอนแก่น)
บทความนี้คุณ dume (Medicine 31st KKU)
ได้โพสต์ไว้ในเวบไซต์ http://www.med-kku.com
เพื่อแชร์ประสบการณ์การสอบ NL ทั้งสามครั้งของตน
อ่านแล้วได้ความรู้ดีครับ
------------------------------------------------------------
ขอเอาประสบกามและการณ์ส่วนตัวมาเล่าสู่กันฟัง และขอแนะนำเทคนิคเล็กๆน้อยๆที่พี่ลองทำแล้วประสบความสำเร็จ(มั้ง)
NL1
1. Gross anatomy ถ้าไม่มีเวลาก็ไม่ต้องอ่านก็ได้
2. วิชาที่บังคับอ่านและควรจะจำได้ ได้แก่ Pathology, phamacology, physiology, hematology
3. วิชาอื่นๆแล้วแต่ศรัทธาครับ คือควรอ่านให้ครบแต่ไม่ต้องตะบี้ตะบันท่องจำ แค่เข้าใจ concept พอ
4. ถ้ามีข้อสอบเก่าควรอ่านข้อสอบเก่าก่อนแล้วค่อยไปอ่านหนังสือ จะได้รู้จุดที่ควรอ่านเน้นๆ(ขึ้นอยู่กับเทคนิคแต่ละคน แต่ตอนปีพี่สอบมันไม่มีข้อสอบเก่าอ่ะ)
5. ข้อสอบจะไม่ถามแบบเน้นความจำมากมาย คือไม่ต้องจำได้เป๊ะๆว่า nerve เส้นนี้เลี้ยงที่กล้ามเนื้อมัดไหน
ได้โพสต์ไว้ในเวบไซต์ http://www.med-kku.com
เพื่อแชร์ประสบการณ์การสอบ NL ทั้งสามครั้งของตน
อ่านแล้วได้ความรู้ดีครับ
------------------------------------------------------------
ขอเอาประสบกามและการณ์ส่วนตัวมาเล่าสู่กันฟัง และขอแนะนำเทคนิคเล็กๆน้อยๆที่พี่ลองทำแล้วประสบความสำเร็จ(มั้ง)
NL1
1. Gross anatomy ถ้าไม่มีเวลาก็ไม่ต้องอ่านก็ได้
2. วิชาที่บังคับอ่านและควรจะจำได้ ได้แก่ Pathology, phamacology, physiology, hematology
3. วิชาอื่นๆแล้วแต่ศรัทธาครับ คือควรอ่านให้ครบแต่ไม่ต้องตะบี้ตะบันท่องจำ แค่เข้าใจ concept พอ
4. ถ้ามีข้อสอบเก่าควรอ่านข้อสอบเก่าก่อนแล้วค่อยไปอ่านหนังสือ จะได้รู้จุดที่ควรอ่านเน้นๆ(ขึ้นอยู่กับเทคนิคแต่ละคน แต่ตอนปีพี่สอบมันไม่มีข้อสอบเก่าอ่ะ)
5. ข้อสอบจะไม่ถามแบบเน้นความจำมากมาย คือไม่ต้องจำได้เป๊ะๆว่า nerve เส้นนี้เลี้ยงที่กล้ามเนื้อมัดไหน
การเตรียมตัวสอบ NL part 1,2
ไปเจอบทความนี้มาจากเวป http://www.thaimedinter.com โดยคุณ pimthita
เนื้อหาค่อนข้างเยอะ แต่ก็น่าอ่านเพราะเธอบรรยายจากความประสบการณ์ตรง
เกิ่นนำก่อนว่า..ตั้งแต่แพทยสภาประกาศจัดสอบใบประกอบโรค
และตั้งแต่ปี 2549 นักศึกษาแพทย์ทั่วประเทศก็ต้องสอบเหมือนกัน..
กลายเป็นความซวยของนักศึกษาแพทย์คนหนึ่ง..ที่ครั้งนั้นเพิ่งจะรู้ตัวเองว่าจะต้องเข้าทดสอบในปีหน้า..
เมื่อข้ามฟากมาเรียนที่คณะวิทย์ พยาไท ..ชีวิตเปลี่ยนจากปี1 ที่ศาลายามาก
ทุกอย่างก็เปลี่ยนแปลงไป เพราะตอนเรียนปีหนึ่งอาจารย์ก็สอนทุกอย่าง
อยู่ที่นี่..การเรียนห้องเรียน L. ไม่เคยมีการลงชื่อเข้าเรียน ฉันเองยังตื่นไปเรียนไม่ไหวบ้าง..
การเรียนการสอนแบบ PBL ที่เพิ่งเปลี่ยนมาใช้เมื่อปีที่แล้ว..
ความรู้สึกส่วนตัวชอบการเรียนแบบนี้ แต่ก็ไม่รู้ว่าตัวเองจะได้ความรู้เท่าไหร่ เพียงพอรึยัง?
ชีวิตตั้งแต่ปีหนึ่งนั้นเพื่อนก็โทรตามไปเข้าเรียนบ่อยๆ นอกจากบางวิชาที่ชอบ(ซึ่งไม่ใช่วิชาการเท่าไหร่)ก็จะไปเรียน
เพราะปีหนึ่งเคยใช้ชีวิตเฮฮามาตลอด ..พอข้ามฟากอยู่ไกลเพื่อนก็เกเรบ่อยๆ
ความคิดไว้แค่ว่า เราไม่อยากจะลำบากไม่อยากจะเครียดในตอนนั้นก็พอแล้ว
เนื้อหาค่อนข้างเยอะ แต่ก็น่าอ่านเพราะเธอบรรยายจากความประสบการณ์ตรง
** หมายเหตุ**
เนื้อหาที่โพสต์นี้ดึงมาจากกระทู้ที่มีการโต้ตอบกันระหว่างคุณ pimthita กับสมาชิกในบอร์ด
แต่ข้อความที่สมาชิกท่านอื่นโพสต์ถามเธอ ไม่ได้เอามาด้วยนะครับ
เกิ่นนำก่อนว่า..ตั้งแต่แพทยสภาประกาศจัดสอบใบประกอบโรค
และตั้งแต่ปี 2549 นักศึกษาแพทย์ทั่วประเทศก็ต้องสอบเหมือนกัน..
กลายเป็นความซวยของนักศึกษาแพทย์คนหนึ่ง..ที่ครั้งนั้นเพิ่งจะรู้ตัวเองว่าจะต้องเข้าทดสอบในปีหน้า..
เมื่อข้ามฟากมาเรียนที่คณะวิทย์ พยาไท ..ชีวิตเปลี่ยนจากปี1 ที่ศาลายามาก
ทุกอย่างก็เปลี่ยนแปลงไป เพราะตอนเรียนปีหนึ่งอาจารย์ก็สอนทุกอย่าง
อยู่ที่นี่..การเรียนห้องเรียน L. ไม่เคยมีการลงชื่อเข้าเรียน ฉันเองยังตื่นไปเรียนไม่ไหวบ้าง..
การเรียนการสอนแบบ PBL ที่เพิ่งเปลี่ยนมาใช้เมื่อปีที่แล้ว..
ความรู้สึกส่วนตัวชอบการเรียนแบบนี้ แต่ก็ไม่รู้ว่าตัวเองจะได้ความรู้เท่าไหร่ เพียงพอรึยัง?
ชีวิตตั้งแต่ปีหนึ่งนั้นเพื่อนก็โทรตามไปเข้าเรียนบ่อยๆ นอกจากบางวิชาที่ชอบ(ซึ่งไม่ใช่วิชาการเท่าไหร่)ก็จะไปเรียน
เพราะปีหนึ่งเคยใช้ชีวิตเฮฮามาตลอด ..พอข้ามฟากอยู่ไกลเพื่อนก็เกเรบ่อยๆ
ความคิดไว้แค่ว่า เราไม่อยากจะลำบากไม่อยากจะเครียดในตอนนั้นก็พอแล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)